• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home มะเร็ง

โรคตับโต (Enlarged Liver) : อาการ สาเหตุและการรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
19/12/2020
in มะเร็ง, หาโรค
0
โรคตับโต
0
SHARES
312
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • ภาวะตับโตคืออะไร
  • สัญญาณและอาการของตับโตคืออะไร
  • สาเหตุของภาวะตับโตคืออะไร
Rate this post

ภาวะตับโตคืออะไร

ภาวะตับโต (Enlarged Liver) เกิดจากการที่ตับมีขนาดใหญ่ขึ้นมากเกินไป ซึ่งตับถือเป็นอวัยวะภายในร่างกายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ช่วยทำให้ร่างกายสามารถทำงานได้ดังต่อไปนี้

  • ย่อยอาหารได้เร็วขึ้น
  • เก็บน้ำตาลไว้ในรูปแบบของไกลโคเจน
  • ต่อสู้กับเชื้อโรค
  • ผลิตฮอร์โมนและโปรตีน
  • ควบคุมการเกิดลิ่มเลือด
  • ดูดซึมสารพิษในยาและสารพิษอื่นๆ

ตับเป็นอวัยวะภายในชนิดเดียวเท่านั้นที่สามารถเจริญเติบโตได้อีกครั้งหลังจากการผ่าตัดปลูกถ่ายตับจากการบริจาคที่เข้ากัน ถ้าหากส่วนของตับที่ได้รับการบริจาคเข้ากับตับของผู้ป่วย การผ่าตัดปลูกถ่ายสามารถทำให้ตับกลับมาเติบโตได้อีกครั้ง  

ถ้าหากคุณมีภาวะตับโตหมายความว่าคุณอาจมีภาวะดังต่อไปนี้

  • เป็นโรคตับ
  • โรคมะเร็งเช่นลูคีเมีย
  • โรคทางพันธุกรรม
  • หัวใจเเละหลอดเลือดผิดปกติ
  • เกิดการติดเชื้อ
  • ได้รับสารพิษ

หลายสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะตับโตและการผ่าตัดปลูกถ่ายตับสามารถซ่อมแซมตับของคุณให้กลับมาทำงานได้ตามปกติ

อาการตับโตมีสาเหตุเกิดขึ้นจากโรคและตรวจพบด้วยการวินิจฉัยโรค ซึ่งไม่ได้เกิดจากอาการบาดเจ็บฉุกเฉิน ควรนัดพบเเพทย์ถ้าหากคุณมีสัญญาณหรืออาการตับโต

Enlarged Liver

สัญญาณและอาการของตับโตคืออะไร

ภาวะตับโตไม่มีอาการใดปรากฎขึ้นแต่ถ้าหากโรคบางชนิดทำให้เกิดภาวะตับโต คุณอาจมีอาการดังต่อไปนี้

  • ภาวะดีซ่านหรือผิวหนังและตาเป็นสีเหลือง
  • เจ็บปวดกล้ามเนื้อ
  • อ่อนล้า
  • คัน
  • คลื่นไส้
  • อาเจียน
  • ปวดท้อง
  • อาหารไม่ย่อย
  • ขาเเละเท้าบวม
  • เกิดรอยฟกช้ำง่าย
  • น้ำหนักลดลง
  • ท้องโตขึ้น

อาการดังกล่าวเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคโดยแพทย์

คุณสามารถโทรหาเบอร์ 1669 เพื่อขอความช่วยเหลือทางการเเพทย์ด่วนถ้าหากคุณมีอาการดังต่อไปนี้

  • ปวดท้องอย่างรุนแรง
  • เป็นโรคไข้เหลือง
  • อาเจียนเป็นเลือดหรือมีสีเข้มเหมือนกาแฟ
  • หายใจสั้น
  • ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ เทาหรือมีเลือดปนในอุจจาระสีสด

อาการดังกล่าวเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน

สาเหตุของภาวะตับโตคืออะไร

โดยปกติอาการตับโตมักมีสัญญาณของเนื้อเยื่อภายในตับทำงานผิดปกติเกิดขึ้น นอกจากนี้การทานยาบางชนิดเช่น ยาอะมิโอดาโรนและยาสแตนตินยังสามารถทำให้ตับได้รับบาดเจ็บได้

สาเหตุทั่วไปได้แก่

  • การแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งหรือการเริ่มต้นเกิดมะเร็งที่อวัยวะอื่นของร่างกายและเกิดการเเพร่เชื้อมาสู่ตับ
  • ภาวะตับคั่งไขมันที่ไม่ได้เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ (NAFLD) หรือการเกิดไขมันขึ้นในตับที่ไม่ได้มาสาเหตุเกิดจากแอลกอฮอล
  • ความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคอื่นๆที่ทำให้เกิดภาวะอุดตันหลอดเลือดดำที่ไหลออกจากตับหรือนำเลือดเข้าไปหล่อเลี้ยงตับ
  • โรคมะเร็งตับหรือโรคมะเร็งที่เติบโตขึ้นภายในตับ
  • โรคตับแข็งหรือมีบาดแผลเกิดขึ้นที่ตับขั้นรุนเเรงเนื่องจากได้รับสารพิษจากแอลกอฮอล
  • โรคไวรัสตับอักเสบ (โดยส่วนใหญ่ได้แก่ชนิด A B C) หรือการติดเชื้ออื่นที่มีสาเหตุเกิดจากไวรัส
  • โรคตับที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอลหรือตับถูกทำลายจากภาวะไขมันพอกตับและการติดเชื้อรวมถึงมีบาดแผลเกิดขึ้นที่ตับเนื่องจากการดื่มแอลกอฮอล

นอกจากนี้ภาวะหัวใจล้มเหลวยังทำให้เกิดการอุดตันที่เส้นเลือดดำที่ไหลออกจากตับ ซึ่งเส้นเลือดนี้ทำหน้าที่ระบายเลือดออกจากตับ เมื่อเส้นเลือดนี้เกิดการอุดตันขึ้นจะทำให้เกิดภาวะอุดตันเลือดในตับและทำให้ตับมีขนาดใหญ่ขึ้นซึ่งอาการนี้เรียกว่าภาวะตับทำงานล้มเหลว

สาเหตุส่วนน้อยที่ทำให้เกิดภาวะตับโตได้แก่ 

  • โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองหรือโรคมะเร็งเลือดในระบบน้ำเหลือง
  • โรคมะเร็งลูคีเมียเป็นโรคมะเร็งที่เกิดมั นไขกระดูกชนิดหนึ่ง
  • มะเร็งมัลติเพิลมัยอีโลมาหรือโรคมะเร็งเลือดที่เกิดขึ้นในไขกระดูกโดยเกิดขึ้นกับเซลล์พลาสม่าโดยเฉพาะ
  • ภาวะเหล็กเกินหรือการสร้างธาตเหล็กภายในตับ
  • โรควิลสันหรือการเกิดธาตุทองแดงในับ
  • โรคเกาเชอร์ หรือความผิดปกติที่เกิดจากไขมันพอกตับ
  • โรคตับอักเสบเนื่องจากสารเคมีที่เป็นพิษ
  • การอุดตันของท่อน้ำดีหรือถุงน้ำดีหรือเกิดการติดเชื้อภาวะในตับ โดยปกติมักเกิดขึ้นที่ถุงน้ำดี
  • ซีสต์ในตับหรือเกิดถุงน้ำขึ้นภายในตับจากหลายสาเหตุ

การติดเชื้อและการใช้ยาบางประเภทสามารถทำให้ตับโตได้เช่นกัน นอกจากนี้ภาวะตับโตยังสามารถเกิดจากก้อนเนื้องอกที่ไม่ใช่มะเร็งหรือเนื้องอกมะเร็งได้เช่นกัน

Tags: ไวรัส
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post
ตาแพ้แสง

ตาแพ้แสง (Light Allergy Eyes) :อาการ สาเหตุ การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.