• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

ความดันต่ำ (Hypotension) : อาการ สาเหตุ การรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
04/12/2020
in หาโรค, อาการ, โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
0
0
SHARES
158
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • ความดันต่ำ
  • อาการของความดันโลหิตต่ำ
  • สาเหตุของความดันต่ำ
  • การรักษาความดันโลหิตต่ำ
  • ภาพรวม
4.8 / 5 ( 21 votes )

ความดันต่ำ

ความดันต่ำ (Hypotension) คือการที่ร่างกายเกิดภาวะ ความดันโลหิตต่ำ ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดงในปอด หรือบางครั้งอาจเป็รเพราะลิ้นหัวใจทำงานผิดปกติ  การมีความดันต่ำนั้นไม่ได้หมายความว่ามันเป็นเรื่องที่แย่เสมอไป หากความดันของคุณอยู่ที่ 120/80 นับว่าเป็นเรื่องที่ดี  แต่ภาวะความดันต่ำ บวกกับอาการที่ผู้ป่วยรู้สึกเหนื่อยง่ายและมีอาการเพลีย ง่วงนอนตลอดเวลา หากผู้ป่วยมีอาการเช่นนี้อาจจะมีโรคอื่นแทรกซ้อนด้วย ควรเข้ารับคำปรึกษาจากแพทย์เพื่อการรักษา โดยภาวะความดันโลหิตต่ำนี้มักเกิดขึ้นในผู้หญิงและผู้สูงอายุ โดยหากมีภาวะความดันที่ต่ำว่า 90/60 นับว่าเป็นสัญญาณที่น่าเป็นห่วง

ความดันต่ำ (Hypotension)

อาการของความดันโลหิตต่ำ

เมื่อไหร่ที่ค่าความดันโลหิตต่ำลงไปกว่า 90/60 แล้ว ผู้ป่วยอาจจะมีอาการได้ดังนี้ : 

  •  วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ
  • หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม
  • คลื่นไส้ อาเจียน
  • เหงื่อออก
  • หูอื้อ ตาลาย 
  • สมองช้า
  • ชัก หมดสติ
  • เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

สาเหตุของความดันต่ำ

ภาวะความดันต่ำสามารถเกิดจากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็รภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดงของปอด หรือลิ้นหัวใจทำงานผิดปกติเพราะอัตราการส่งเลือดออกจากหัวใจลดลง การใช้ยาบางชนิด และในหญิงตั้งครรภ์ หรือการอยู่ท่ามกลางแสงแดดจัดๆ เป็นต้น ในบางกรณีนับว่าเป็นเรื่องปกติที่คนเราจะมีความดันที่ต่ำลงในบางครั้ง บางครั้งอาจจะมาจากปัจจัยต่าง ๆ บางครั้งอาจจะหายไปได้เอง แต่หากมาจากสาเหตุบางประการก็อาจจะทำให้ความดันต่ำนั้นเป็นอยู่นานและสามารถก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่อสุขภาพได้ หากไม่ได้รับการรักษา เช่น 

  • การสูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุเป็นจำนวนมาก
  • การไหลเวียนของโลหิตบกพร่องส่งผลให้เกิดหัวใจวาย หรือการทำงานของลิ้นหัวใจผิดปกติ
  • ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ควรควบคุมความดันให้อยู่ในระดับปกติ เพราะร่างกายต้องการนำเลือดไปหล่อเลี้ยงทารกในครรภ์ แต่นับว่าไม่อันตรายเท่าแม่ที่เป็นความดันสูง แต่ถึงกระนั้นควรหมั่นดูแลความดันให้เป็นปกติเนื่องจากหากความดันต่ำอาจจะทำให้หน้ามืดและเป็นลมได้ 
  • ภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด
  • ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อเช่น โรคเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
  • ภาวะขาดน้ำทำให้เกิดอาการช็อก

นอกจากนี้แล้วการใช้ยาบางชนิดอาจจะส่งผลให้ความดันโลหิตต่ำลง เช่น Beta-blockers หรือ ยาโรคหัวใจเช่น nitroglycerin  ยาขับปัสสาวะและยาชูกำลังทางเพศ  ส่วนในบางคนอาจจะไม่สามารถหาสาเหตุของภาวะความดันโลหิตต่ำได้ แต่มักจะมีอาการแบบนี้เรื้อรัง โดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจจะไม่ได้รับอันตรายมากนักจากโรคความดันโลหิตต่ำ

การรักษาความดันโลหิตต่ำ

การรักษาภาวะความดันโลหิตต่ำนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยและสาเหตุของอาการ การรักษาจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละกรณี  ดังนี้

  • กรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะความดันต่ำเนื่องจากสูญเสียเลือดเป็นจำนวนมาก แพทย์จะทำให้เลือดเพื่อทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
  • หากผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำเนื่องจากภาวะขาดน้ำ แพทย์จะทำการให้น้ำเกลือแร่ทางหลอดเลือดดำ 
  • หากเกิดจากการที่หลอดเลือดขยายผิดปกติแพทย์จะทำการให้ยาเพิ่มความดัน

ภาพรวม 

หากคุณมีภาวะความดันโลหิตต่ำ มันไม่ใช่เรื่องที่น่าเป็นกังวลมากนัก แต่ก็ไม่ควรเพิกเฉยกับอาการเพราะอาจจะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ คุณควรปฎิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด ดื่มน้ำเปล่าเยอะ ๆ และรับประทานยาที่แพทย์สั่งจ่ายไม่ให้ขาด รักษาสุขภาพ หมั่นออกกำลังกายเป็นประจำแต่ไม่ควรหักโหมจนเกินไป 


นี่คือลิงค์ที่มาของแหล่งบทความของเรา

  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/low-blood-pressure/symptoms-causes/syc-20355465
  • https://www.webmd.com/heart/understanding-low-blood-pressure-basics
  • https://www.nhs.uk/conditions/low-blood-pressure-hypotension/
  • http://www.heart.org/HEARTORG/Encyclopedia/Heart-Encyclopedia_UCM_445084_ContentIndex.jsp?title=hypotension

เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post

ดาวน์ซินโดรม (Down syndrome) : อาการ สาเหตุ การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.