• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

ไหล่ติด (Shoulder Stiff) : อาการ สาเหตุ การรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
04/12/2020
in หาโรค
0
ไหล่ติด
0
SHARES
40
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • อาการของภาวะข้อไหล่ติด
  • สาเหตุของการเกิดโรค ไหล่ติด
  • ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะไหล่ติด
  • วิธีการรักษาโรคไหล่ติด
  • สิ่งที่คาดหวังได้ในระยะยาว
4.8 / 5 ( 21 votes )

อาการไหล่ติด (Shoulder Stiff) คือชื่อสามัญของโรค โดยจะเป็นภาวะที่หัวไหล่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ โดยจะเกิดขึ้นเมื่อเนื้อเยื่อในหัวไหล่หนาและแน่นขึ้น และจะกลายเป็นแผลเป็นที่เนื้อเยื่อ ทำให้หัวไหล่ไม่มีพื้นที่เพียงพอที่จะทำการหมุนได้อย่างถูกต้อง โดยจะมีอาการปวด บวม และตึง โดยจะพบได้มากในช่วงอายุ 40-60 ปี

อาการของภาวะข้อไหล่ติด

คุณจะรู้สึกว่าไหล่ติดเมื่อเริ่มมีอาการเจ็บ การปวดจะทำให้คุณไม่สามารถขยับหัวไหล่ได้เหมือนที่เคยทำ ไหล่ของคุณจะขยับได้น้อยลงและรู้สึกฝืด หลังจากนั้นไหล่ของคุณจะไม่สามารถขยับได้ ส่งผลให้การใช้ชีวิตประจำวันของคุณกลายเป็นเรื่องยาก เพราะคุณอาจจะไม่สามารถทำกิจกรรมง่ายๆบางอย่างได้ เช่น การแต่งตัว

สาเหตุของการเกิดโรค ไหล่ติด

ถ้าคุณมีความผิดปกติของฮอร์โมน โรคเบาหวาน หรือระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ คุณอาจจะมีอาการอักเสบร่วมด้วย นอกจากนี้หากคุณได้รับการบาดเจ็บหรือเข้ารับการผ่าตัด และไม่ได้ขยับหรือใช้งานหัวไหล่เป็นเวลานาน ก็อาจทำให้เกิดภาวะไหล่ติดได้ นอกจากนี้ยังทำให้มีความเสี่ยงต่อการอักเลขและการยึดติดของเนื้อเยื่อ ในกรณีที่ร้ายแรง อาจเกิดเป็นแผลเป็นที่เนื้อเยื่อได้ ทำให้เกิดภาวะไหล่ติดอย่างรุนแรง โดยส่วนมากจะใช้เวลา 2-9 เดือนในการเปลี่ยนแปลง

ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะไหล่ติด

โดยส่วนมากจะพบได้ในวัยกลางคน และพบมากในผู้หญิง

ถ้าคุณเป็นโรคเบาหวานด้วย จะมีความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้มากถึงสามเท่า

ความเสี่ยงอื่นๆรวมไปถึง :

  • ผู้ที่ต้องใส่สายรัดหัวไหล่เป็นเวลานานหลังจากเข้ารับการผ่าตัดหรือได้รับการบาดเจ็บ
  • คนที่ต้องอยู่เฉยๆเป้นเวลานาน เนื่องจากโรคหลอดเลือดในสมอง
  • ผู้ที่มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์

วิธีการรักษาโรคไหล่ติด

โรคหัวไหล่ติดสามารถปล่อยไว้โดยไม่ต้องทำการรักษาก็ได้ แต่อาการปวดตึงสามารถเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องนานถึงสามปี วิธีที่สามารถช่วยให้ร่างกายกลับมาเป็นปกติได้เร็วขึ้นมีดังนี้ :

  • กายภาพบำบัด
  • การรักษาด้วยยา
  • การผ่าตัด
  • การรักษาตัวที่บ้าน

กายภาพบำบัด

กายภาพบำบัดเป็นวิธีพื้นฐานในการรักษาโรคนี้ โดยมีจุดมุ่งหมายคือยืดข้อไหล่และฟื้นฟูการเคลื่อนไหว โดยระยะเวลาในการรักษาสามารถใช้เวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์หรือนาจถึงเก้าเดือน โดยผู้ป่วยจะเข้ารับการทำกายภาพบำบัดควบคู่ไปกับการออกกำลังกายเบาๆด้วยตัวเองที่บ้า ถ้าหากอาการไม่ดีขึ้นภายในหกเดือนก็จะเป็นที่จะต้องเข้ารับการปรึกษากับแพทย์เพื่อหาวิธีการอื่นๆ

การใช้ยา

แพทย์จะใช้ยาในการรักษาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดและอักเสบของข้อต่อ โดยแพทย์จะให้ยาประเภท แอสไพริน ไอบูโพรเฟ่นหรือนาพรอกเซนโซเดียม รวมไปถึงการฉีดสเตียรอยด์เข้าไปที่หัวไหล่เพื่อบรรเทาอาการปวดด้วย

การรักษาตัวที่บ้าน

การประคบเย็นครั้งละ 15 นาที สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดได้ หากคุณเข้ารับการรักษากับนักกายภาพบำบัด คุณควรบริหารหัวไหล่ตามคำแนะนำ รวมไปถึงว่าปริมาณและระยะเวลาในการออกกำลังกาย เพื่อที่คุณสามารถหายจากอาการได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องผ่าตัด

การผ่าตัด

หากการทำกายภาพบำบัดไม่สามารถช่วยให้อาการของคุณดีขึ้นได้ การผ่าตัดก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยรักษาอาการให้คุณได้ คุณสามารเลือกที่จะทำการผ่าตัดบริหานไหล่ได้ด้วยการฉีดยาชาเข้าไปเพื่อสลายการยึดติด หรือเลือกที่จะทำการส่องกล้อง โดยจะใช้กล้องที่เรียกว่า Arthroscope เพื่อเอาเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บออก ถ้าภาวะไหล่ติดเกิดจากการที่ไหล่ได้รับบาดเจ็บ หากได้รับการผ่าตัดอย่างเร็วที่สุดจะทำให้การรักษาประสบความสำเร็จ

การผ่าตัดมักไม่จำเป็นที่จะต้องนอนในโรงพยาบาล รอยเย็บจากการผ่าตัดจะหายไปภายใน10 วัน และผู้ป่วยจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการทำกายภาพบำบัดหลังผ่าตัดด้วย โดยส่วนมากไหล่จะกลับมาใช้งานได้ปกติภายในสามเดือน

การผ่าตัดมีความเสี่ยง ดังนั้นควรปรึกาาแพทย์ก่อนตัดสินใจที่จะเข้ารับการรักษาด้วยวิธีต่างๆ ในผู้ป่วยบางคนจะยังมีอาการปวดหรือตึงและไม่สามารถรับมือกับความเจ็บปวดในการทำกายภาพบำบัดได้

สิ่งที่คาดหวังได้ในระยะยาว

ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มีอาการภาวะไหล่ติด สามารถหายจากอาการได้ภายในระยะเวลาสองปีโดยที่ไม่ต้องรับการรักษาใดๆ แต่ถ้าหากจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด การทำกายภาพบำบัดเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อที่จะป้องกันไม่ให้เกิดอาการซ้ำได้อีก

นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา

  • https://www.health.harvard.edu/pain/how-to-release-a-frozen-shoulder
  • https://www.nhs.uk/conditions/frozen-shoulder/
  • https://www.webmd.com/pain-management/why-does-my-shoulder-hurt
  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/frozen-shoulder/symptoms-causes/syc-20372684
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post
รูขุมขนอักเสบ

รูขุมขนอักเสบ (Folliculitis) : อาการ สาเหตุ การวินิจฉัยโรค การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.