• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home การติดเชื้อ

ไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever): อาการ วิธีรักษา สาเหตุ การวินิฉัย

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
04/12/2020
in การติดเชื้อ, หาโรค, โรคผิวหนัง, โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา
0
0
SHARES
145
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • ไข้อีดำอีแดงคืออะไร
  • สาเหตุของไข้อีดำอีแดง
  • อาการของไข้อีดำอีแดง
  • ไข้อีดำอีแดงสามารถติดต่อได้หรือไม่
  • การรักษาไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)
  • การดูแลรักษาอาการอื่น ๆ ที่แพทย์แนะนำ
  • โรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากไข้อีดำอีแดง
  • ป้องกันการเกิดไข้อีดำอีแดง
  • การวินิฉัยไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)
4.7 / 5 ( 22 votes )

ไข้อีดำอีแดงคืออะไร

ไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever) หรือที่เรียกกันว่าสการ์ลาติน่าเป็นเชื้อที่เกิดมาจากการเริ่มต้นของผู้ป่วยที่มีคออักเสบ จะมีลักษณะอาการเป็นผื่นแดงตามร่างกาย ผู้ป่วยจะมักมีไข้สูงและมีอาการเจ็บคอร่วมด้วย   และมีการติดเชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสกรุ๊ปเอ (Group A Streptococcus) ไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever) มักเกิดขึ้นกับเด็กอายุตั้งแต่ 5 ขวบ ถึง 15 ปี

ไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)
  ไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)

สาเหตุของไข้อีดำอีแดง

ไข้อีดำอีแดงเกิดจากแบคทีเรียกลุ่ม A Streptococcus หรือแบคทีเรีย Streptococcus pyogenes ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่สามารถมีชีวิตอยู่ในปากและจมูกของผู้ป่วยได้ แบคทีเรียเหล่านี้สามารถผลิตสารพิษหรือพิษที่ทำให้เกิดผื่นแดงตามร่างกาย

อาการของไข้อีดำอีแดง

ผื่นไข้อีดำอีแดง จะเกิดทั่วลำตัว ภายในเวลา 24-48 ชั่วโมงหลังการมีไข้  ลักษณะผื่นจะเป็นสีแดงมาก ผื่นมีสัมผัสที่หยาบ ผู้ป่วยจะมีหน้าแดงและปากซีด รวมถึงมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยดังนี้ 

  • ผู้ป่วยจะเริ่มมีไข้สูงเกิน 38 องศา 
  • มีอาการเจ็บคอ
  • คลื่นไส้และอาเจียน 
  • ลิ้นเป็นสีแดงที่เรียกว่า (Strawberry Tongue) 
  • ลิ้นจะเป็นตะปุ่มตะป่ำและมีฝ้าขาวขึ้นในช่วงแรก 
  • ต่อมทอมซิลโตและอักเสบ 
  • ปวดศรีษะ 
  • หนาวสั่น 

ไข้อีดำอีแดงสามารถติดต่อได้หรือไม่ 

ไข้อีดำอีแดงสามารถแพร่กระจายหรือติดต่อได้จากการสัมผัสเชื้อจากจมูก หรือคอ ผ่านละอองจากการไอหรือจาม ของผู้ป่วยที่เป็นอยู่ก่อนแล้ว บางครั้งอาจจะเกิดจากการใช้แก้วน้ำหรือช้อนร่วมกัน หรือการสัมผัสโดยน้ำมูก เสมหะ หรือน้ำลาย การติดเชื้อสามารถแพร่กระจายได้สองถึงห้าวันก่อนที่ผู้ป่วยจะมีอาการ

นอกจากนี้แบคทีเรียกลุ่ม A Streptococcus สามารถก่อให้เกิดโรคผิวหนังติดเชื้อที่เรียกกันว่าโรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ(Cellulitis)

การรักษาไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)

ไข้อีดำอีแเดงสามารถรักษาได้ด้วยการให้ยาปฎิชีวนะ เพื่อจัดการกับเชื้อแบคทีเรีย แพทย์อาจจะสั่งจ่ายยา จำพวก: 

  • ibuprofen 
  • acetaminophen (Tylenol)
  • cephalosporin
  • amoxicillin
  • clindamycin
  • penicillin

การดูแลรักษาอาการอื่น ๆ ที่แพทย์แนะนำ

ไข้อีดำอีแดง อาการ
  ไข้อีดำอีแดง อาการ
  • ดื่มน้ำอุ่น ๆ 
  • รับประทานอาหารอ่อน ๆ 
  • ดื่มน้ำเยอะ ๆ 
  • อมยาอมแก้เจ็บคอ จากข้อมูลของ Mayo Clinic เด็กที่อายุมากกว่า  4 ขวบสามารถรับประทานได้
  • งดสูบบุหรี่
  • กลั้วคอด้วยน้ำเกลือ

การใช้ยาปฎิชีวนะนับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นเนื่องจาก แบคทีเรียชนิดนี้อาจจะส่งผลให้เป็นโรคไข้รูมาติก (Rheumatic fever) ได้ 

ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนเพื่อรักษาไข้อีดำอีแดง

โรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากไข้อีดำอีแดง

โดยทั่วไปแล้วผื่นหรืออาการอื่น ๆ ของไข้อีดำอีแดงจะหายไปในเวลา 10 วันถึง 2 สัปดาห์หลังการได้รับยาปฏิชีวนะ แต่ทั้งนี้ไข้อีดำอีแดงสามารถทำให้เป็นเหตุของโรคแทรกซ้อนร้ายแรงได้:

  • ไข้รูมาติค (rheumatic fever)
  • ฝีในลำคอ
  • ปอดบวม
  • โรคไขข้อ
  • โรคไต 

ป้องกันการเกิดไข้อีดำอีแดง 

การฝึกสุขอนามัยที่ดีเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันไข้อีดำอีแดง นี่คือเคล็ดลับการป้องกันบางประการที่ผู้ปกครองควรแนะนำบุตรหลาน :

  • ปิดปากเมื่อไอหรือจามและล้างมือทุกครั้ง
  • ไม่ใช้พาชนะอาหารร่วมกับผู้อื่น 
  • หมั่นล้างมือบ่อย ๆ 

การวินิฉัยไข้อีดำอีแดง (Scarlet Fever)

แพทย์ขจะทำการตรวจร่างกายเพื่อตรวจหาอาการของไข้อีดำอีแดง แพทย์จะตรวจสภาพลิ้นคอและต่อมทอนซิลของผู้ป่วย และตรวจสอบลักษณะและพื้นผิวของผื่น หรืออาจจะเก็บตัวอย่างจากลำคอของผู้ป่วยเพื่อเก็บตัวอย่างเซลล์ในการทำการวิเคราะห์ 


ลิงค์ด้านล่างนี้เป็นแหล่งข้อมูลของบทความของเรา

  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/scarlet-fever/symptoms-causes/syc-20377406
  • https://www.nhsinform.scot/illnesses-and-conditions/infections-and-poisoning/scarlet-fever
  • https://www.cdc.gov/groupastrep/diseases-hcp/scarlet-fever.html

[ABTM id=1109]

Tags: ผิวหนังระบบประสาทแบคทีเรีย
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post
คาวาซากิ

โรคคาวาซากิ (Kawasaki disease) : อาการ การวินิจฉัย สาเหตุ

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.