• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) : อาการ สาเหตุ วิธีการรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
04/12/2020
in หาโรค, โรคระบบกล้ามเนื้อ
0
โรคกระดูกพรุน
0
SHARES
31
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • โรคกระดูกพรุนคือ
  • อาการโรคกระดูกพรุน
  • โรคกระดูกพรุนรุนแรง
  • สาเหตุโรคกระดูกพรุน
  • วิธีรักษาโรคกระดูกพรุน
  • ยารักษาโรคกระดูกพรุน
  • การป้องกันโรคกระดูกพรุน
4.7 / 5 ( 12 votes )

โรคกระดูกพรุนคือ

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือ เป็นภาวะที่มีผลต่อกระดูก โดยปกติด้านในของกระดูกที่แข็งแรงจะมีช่องว่างเล็ก ๆ เหมือนรังผึ้ง โรคกระดูกพรุนจะเพิ่มขนาดของช่องว่างเหล่านี้ทำให้กระดูกสูญเสียความแข็งแรง และความหนาแน่น ทำให้กระดูกอ่อนแอลง

สถิติโรคกระดูกพรุนเป็นปัญหาทางสาธารณสุขในอันดับที่ 2 ของโลก รองจากโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด เป็นภัยเงียบที่ไม่มีสัญญาณเตือน สาเหตุหนึ่งที่ทำให้กระดูกหัก โดยเฉพาะกระดูกสะโพก ซึ่งผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักจะมีอัตราการเสียชีวิตในปีแรกร้อยละ 17% และสัดส่วน 80% ไม่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้เหมือนเดิม รวมทั้งจากข้อมูลมูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติ พบว่าประชากรไทยที่มีความเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน 80 – 90% ยังไม่ได้รับการประเมินและรักษา

Osteoporosis

อาการโรคกระดูกพรุน

ภาวะกระดูกพรุนในระยะแรกจะไม่ส่งผลใดๆ และผู้ป่วยจะทราบก็ต่อเมื่อ กระดูกนั้นมีการหักแล้ว โดยผู้ป่วยกระดูกพรุนอาจจะมีอาการดังต่อไปนี้เป็นสัญญาณ

  • เหงือกร่น
  • ความแข็งแรงในการยึดเกาะลดลง
  • เล็บเปราะง่าย

แม้ว่าคุณจะไม่มีอาการดังกล่าว แต่หากมีประวัติผู้ป่วยในครอบครัว แสดงว่าคุณเองก็มีความเสี่ยงเช่นกัน

 


ลองดู Movinix capsules และ Flexadel gel ช่วยบรรเทาอาการโรคกระดูกพรุน


 

โรคกระดูกพรุนรุนแรง

หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมอาจทำให้อาการกระดูกพรุนยิ่งแย่ลงได้ เมื่อกระดูกบางลงและอ่อนแอลง ความเสี่ยงของการแตกหักจะเพิ่มขึ้น

อาการของกระดูกพรุนขั้นรุนแรง คือ การแตกหักจากการหกล้ม หรือแม้กระทั่งการไอหรือจามอย่างรุนแรง และอาจทำให้เกิดอาการปวดคอและหลัง รวมไปถึงการสูญเสียความสูง

อาการปวดหลังหรือคอหรือการสูญเสียความสูงนั้นเกิดจากการหัก กดทับ ของกระดูกสันหลังส่วนใดส่วนหนึ่งที่คอ หรือหลังของคุณ ที่อ่อนแอจนไม่สามารถทนแรงกดจากร่างกายในระดับปกติได้เลย

หากคุณมีอาการกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน เวลาที่ใช้ในการรักษาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ การแตกหัก ประวัติการรักษา และอายุของผู้ป่วย

สาเหตุโรคกระดูกพรุน

สาเหตุของโรคกระดูกพรุน ได้แก่ปัญหาสุขภาพบางชนิด เช่น ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากผลข้างเคียงของยาบางชนิด

ตัวอย่างของยาเหล่านี้ ได้แก่ คอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดรับประทาน หรือยาที่ให้ด้วยการฉีด เช่น เพรดนิโซนหรือคอร์ติโซน

วิธีรักษาโรคกระดูกพรุน

หากคุณได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน แพทย์จะวางแผนการรักษาร่วมกับคุณ แพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และให้ยารักษา โดยมักจะเป็นการเพิ่มปริมาณแคลเซียม และวิตามินดี รวมถึงออกกำลังกายอย่างเหมาะสม

โรคกระดูกพรุนยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาด แต่การรักษาที่เหมาะสมสามารถช่วยปกป้องและเสริมสร้างกระดูกได้ หลักๆ คือ ชะลอการสลายตัวของกระดูก และเสริมสร้างกระดูกที่เกิดใหม่

ยารักษาโรคกระดูกพรุน

ยาที่ใช้รักษาโรคกระดูกพรุนส่วนใหญ่ คือ บิสฟอสโฟเนต Bisphosphonates เพื่อป้องกันการสูญเสียมวลกระดูก โดยมีทั้งรูปแบบรับประทานและฉีด ได้แก่ :

  • Alendronate (Fosamax)
  • Ibandronate (Boniva)
  • Risedronate (Actonel)
  • Zoledronic acid (Reclast)

นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น Movinix และเจลเช่น Flexadel สามารถช่วยบรรเทาอาการได้

ยังมียาตัวอื่นๆ ที่สามารถป้องกันการสูญเสียของมวลกระดูกได้ดังนี้

ฮอร์โมนเพศชาย Testosteron

การบำบัดด้วยฮอร์โมนเพศชาย ช่วยเพิ่มความหนาแน่นของกระดูกของเพศชาย

การบำบัดด้วยฮอร์โมน Estrogen

ฮอร์โมนเอสโตรเจน สามารถช่วยหยุดการสูญเสียความหนาแน่นของกระดูกของเพศหญิงได้ น่าเสียดายที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด โรคหัวใจ และมะเร็ง

Raloxifene

ให้ประโยชน์เหมือนฮอร์โมนเอสโตรเจน แต่มีความเสี่ยงน้อยกว่ามาก แม้ว่าจะยังมีความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดอยู่

Denosumab

ใช้โดยวิธีการฉีด และแนวโน้มที่ดีกว่าบิสฟอสโฟเนตในการลดการสูญเสียมวลของกระดูก

Teriparatide

ฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูก

Calcitonin salmon (Fortical and Miacalcin)

ยาพ่นจมูกและเพิ่มความแข็งแรงของกระดูก แต่เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ว

Romosozumab 

ยานี้ได้รับการอนุมัติจาก FDA ในปี 2019 เพื่อใช้รักษาผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะกระดูกหัก

รับยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง เดือนละครั้งเป็นเวลา 12 เดือนหรือน้อยกว่า แต่อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจวาย หรือโรคหลอดเลือดสมอง ดังนั้นจึงไม่แนะนำสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว

การป้องกันโรคกระดูกพรุน

มีปัจจัยเสี่ยงมากมายสำหรับโรคกระดูกพรุนที่ไม่มีใครสามารถควบคุมได้ ได้แก่ การที่มีอายุที่มากขึ้น แต่วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคกระดูกพรุน ได้แก่

  • บริโภคแคลเซียมและวิตามินดีในปริมาณที่แนะนำทุกวัน
  • ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม
  • หยุดสูบบุหรี่
  • ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในภาวะปกติ

หากคุณมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน ควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาแนวทางป้องกัน


นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา

  • https://www.nof.org/patients/what-is-osteoporosis/
  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/osteoporosis/symptoms-causes/syc-20351968
  • https://www.webmd.com/osteoporosis/default.htm

เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post

กระเนื้อ (Seborrheic keratosis) : อาการ วินิจฉัยการรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.