• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home การติดเชื้อ

โรคคาวาซากิ (Kawasaki disease) : อาการ การวินิจฉัย สาเหตุ

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
09/02/2021
in การติดเชื้อ, หาโรค, โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
0
คาวาซากิ
0
SHARES
69
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • คาวาซากิคืออะไร
  • การรักษาคาวาซากิ (Kawasaki disease)
  • การวินิจฉัยคาวาซากิ
4.7 / 5 ( 22 votes )

คาวาซากิคืออะไร 

คาวาซากิ หรือ (Kawasaki disease) คือ อาการของโรคต่อมน้ำเหลืองที่ โรคที่ทำให้เกิดการอักเสบในหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดำและเส้นเลือดฝอย ทำให้หลอดเหลือดหัวใจโป่งพอง  มีผลต่อต่อมน้ำเหลืองของผู้ป่วยและ เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของโรคหัวใจในเด็ก คาวาซากิ (Kawasaki) มักพบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ โรค นี้อาจจะทำให้หัวใจอักเสบ และหลอดเลือดเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โรคนี้อาจจะทำให้เกิดการเสียชีวิตเฉียบพลันได้ ในประเทศไทยพบเด็กทีเป็นโรคคาวาซากิคร้ังแรกเมื่อพ.ศ.2519

สาเหตุของโรคคาวาซากิ

สาเหตุที่แท้จริงของโรคคาวาซากินั้นยังไม่ทราบแน่ชัด แต่คาดการณ์ว่าอาจจะเป็นสาเหตุจากพันธุกรรมและปัจจัยสิ่งแวดล้อมอาจทำให้เกิดคาวาซากินี้ ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัสกับจุลินทรีย์บางชนิด ไปกระตุ้นปฏิกริยาทางระบบภูมิคุ้มกันให้ผิดปกติ และโรคนี้มักเกิดขึ้นในช่วงฤดูกาลที่เฉพาะเจาะจงและมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อเด็กเชื้อสายเอเชียเท่านั้น บางครั้งมือเท้าบวม สาเหตุของมือลอก ร่วมกับอาการบวม เกิดจากไข้คาวาซากิ ดังนั้นผู้ปกครองควรสังเกตุอาการของลูกน้อย

อาการของคาวาซากิ

โรคคาวาซากิแบ่งเป็นสองระยะคือ

ระยะแรก

ซึ่งอาจจะเป็นได้ถึงสองอาทิตย์ จะมีอาการดังนี้:

  • ต่อมน้ำเหลืองบวม
  • มือบวมเท้าบวม
  • ผื่น (skin rash) ขึ้นตามลำตัว เป็นผื่นที่หน้า
  • อาการไข้สูงมากกว่าห้าวัน
  • ตาแดง
  • ปากบวมแดง
  • อาการลิ้นสตอร์เบอร์รี่
  • ฝ่ามือและฝ่าเท้าสีแดง
  • นิ้วมือลอก นิ้วเท้าลอก ผิวหนังลอก

ในระยะนี้เด็กอาจจะเกิดปัญหาของระบบหัวใจได้

ระยะที่สอง

หลังจากนั้นอาการจะเริ่มภายในสองสัปดาห์หลังจากมีไข้ ผิวที่มือและเท้าของเด็กอาจเริ่มลอกและหลุดออกเป็นแผ่น เด็กบางคนอาจเป็นโรคข้ออักเสบหรือปวดข้อได้ชั่วคราว และจะมีอาการดังต่อไปนี้ร่วมด้วย

  • สูญเสียการได้ยินชั่วคราว
  • ท้องเสีย
  • ปวดท้อง
  • อาเจียน
  • ถุงน้ำดีขยายใหญ่

การรักษาคาวาซากิ (Kawasaki disease)

ในเด็กที่เป็นโรคคาวาซากิควรได้รับการรักษาอย่างทันทีเพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับหัวใจ 

  • การรักษาแรกคือการให้ยา อิมมูโนโกลบูลินทางหลอดเลือดดำ สามารถช่วยลดภาวะเส้นเลือดหัวใจโป่งพอง แต่ยานี้อาจจะทำให้เด็กเกิดการ แพ้ยาได้ (drug allergy) 
  • การให้ยาแอสไพรินลดไข้ ลดอาการปวดบวม 
  • การให้ยาต้านลิ่มเลือด
  • ยากันเลือดแข็งตัว

หลังจากไข้ลงใน 24-48 ชั่วโมง แพทย์จะพิจารณาปรับลดขนาดของยาแอสไพรินลง เพื่อป้องกันการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือดที่อาจก่อให้เกิดลิ่มเลือดภายในหลอดเลือดที่มีการอักเสบหรือโป่งพอง เพราะลิ่มเลือดจะทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดและเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็นอันตรายมากอาจจะถึงชีวิตได้ 

ภาวะแทรกซ้อนของคาวาซากิ

25% ใจเด็กที่เป็นโรคคาวาซากิ ที่ไม่ได้รับการรักษาสามารถนำไปสู่ความเสี่ยงโรคที่เกี่ยวกับหัวใจที่เป็นอาการแทรกซ้อน:

  • ผนังหลอดเลือดหัวใจโป่งพอง
  • กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
  • การเต้นของหัวใจผิดปกติ

การวินิจฉัยคาวาซากิ

ตอนนี้ยังไม่มีการทดสอบเฉพาะสำหรับโรคคาวาซากิ และโรคคาวาซากิมักมีความคล้ายคลึงกับโรคหลายโรคเช่น 

  • ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever)
  • โรคหัด 
  • การแพ้ยากลุ่มสตีเฟนส์-จอห์นสัน (drug allergy)  
  • โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus) 
  • การรับสารพิษจากปรอท
  • โรคข้ออักเสบในเด็ก

ดังนั้นเมื่อมีอาการคล้ายคลึงกัน แพทย์อาจจะต้องคำนึงถึงอาการของโรค และปัจจัยที่เกี่ยวข้องอาจมีการวินิจฉัยเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบผลกระทบของโรคคาวาซากิที่มีต่อหัวใจ เช่น 

  • การเอกซเรย์ (X-Ray) ที่หน้าอกเพื่อตรวจอาการเตือนของหัวใจล้มเหลว
  • การตรวจเลือด เนื่องจากเด็กที่เป็นคาวาซากิจะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวมากกว่าเม็ดเลือดแดง 
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อตรวจดูว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจหรือไม่ 

โรคนี้สามารถเกิดกับเด็กทารกได้ เด็กอาจจะมีไข้สูงหลายวันและผิวลอกร่วมด้วย โรคคาวาซากิเป็นโรคที่ทำให้เกิดการอักเสบในร่างกายโดยเฉพาะหลอดเลือดและต่อมน้ำเหลือง ส่วนใหญ่จะมีผลกับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี  แต่มันก็สามารถเกิดได้ในผู้ใหญ่แต่ไม่มากนัก


ลิงค์ด้านล่างนี้เป็นแหล่งข้อมูลของบทความของเรา

  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/kawasaki-disease/symptoms-causes/syc-20354598
  • https://kidshealth.org/en/parents/kawasaki.html
  • https://www.webmd.com/children/what-is-kawasaki-disease#1
Tags: ผิวหนังแบคทีเรีย
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post

โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis): ประเภท อาการ สาเหตุ

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.