• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

โคม่า (Coma) : อาการ สาเหตุ การรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
22/01/2021
in หาโรค
0
โคม่า
0
SHARES
162
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • อาการโคม่าเกิดจากสาเหตุอะไร
  • อาการโคม่าเป็นอย่างไร
  • การรักษาภาวะโคม่า
  • ภาพรวมของภาวะโคม่า
Rate this post

โคม่า (Coma) คือภาวะที่ผู้ป่วยหมดสติเป็นเวลานาน เนื่องจากสมองส่วนใดส่วนหนึ่งได้รับความเสียหาย ซึ่งความเสียหายนี้ส่งผลให้ผู้ป่วยอยู่ในภาวะหมดสติ ไม่สามารถตื่นตัว เคลื่อนไหว และไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกได้ เช่นความเจ็บปวด เสียงและแสง รวมไปถึงการสัมผัส คำว่าโคม่า มีรากมาจากภาษากรีก “Koma”  ที่แปลว่า การหลับลึก นั่นเอง  

อาการโคม่าสามารถเกิดจากสาเหตุหลายประการ ตั้งแต่การบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยไปจนถึงโรคหลอดเลือดสมองเนื้องอก และนอกจากนี้การดื่มแอลกอฮอล์และการใช้ยาเสพติดสามารถส่งผลให้เกิดอาการโคม่าได้เช่นกัน

ผู้ป่วยอยู่ในอาการโคม่านั้นยังมีชีวิตอยู่ แต่ไม่สามารถเคลื่อนไหวและรู้สึกตัวได้ ผู้ป่วยจะหยุดการคิด และไม่สามารถพูดหรือตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมได้ แต่ภาวะทางร่างกายยังคงสามารถสั้งการทำงานที่สำคัญได่ เช่นการหายใจและการไหลเวียนของเลือด 

Coma

อาการโคม่าเกิดจากสาเหตุอะไร

โคม่ามีสาเหตุมาจากการที่สมองถูกทำลาย โดยเป็นการทำลายที่จำเพาะเจาะจงในสมองใหญ่ทั้งซีกซ้ายและขวา ในบริเวณของเยื่อหุ้มสมอง และระบบประสาท ซึ่งสมองในส่วนนี้ทำหน้าที่ในการรับรู้ และการตื่นตัว การถูกทำลายสามารถเป็นเหตุมาจากปัจจัยสำคัญได้หลายประการ เช่น ศีรษะได้รับการกระทบกระเทือน การขาดออกซิเจน การมีเลือดออกหรือเกิดแรงดันในสมอง การติดเชื้อ ระบบเมแทบอลิซึมมีปัญหา ภาวะเป็นพิษ ตัวอย่างได้แก่

  • การบาดเจ็บที่ศีรษะ หรือสมอง เช่น เกิดจากอุบัติเหตุที่กระทบกระเทือนสมองอย่างรุนแรง  หรือการถูกทำร้ายอย่างรุนแรง
  • โรคหลอดเลือดสมอง
  • เนื้องอกในสมอง
  • การขาดออกซิเจนไปเลี้ยงสมองเป็นเวลานาน
  • การใช้ยาหรือแอลกอฮอล์เกินขนาด
  • ได้รับสารพิษมากเกินไปจนตับหรือไตไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
  • การสะสมของสารพิษในร่างกาย เช่น แอมโมเนีย ยูเรีย หรือคาร์บอนไดออกไซด์
  • ได้รับสารพิษจากโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว
  • การติดเชื้อ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบหรือโรคไข้สมองอักเสบ
  • เกิดอาการชักต่อเนื่องกัน

อาการโคม่าเป็นอย่างไร

อาการโคม่าเป็นเหตุฉุกเฉินทางการแพทย์และต้องได้รับการดูแลจากแพทย์ทันที สัญญาณของอาการโคม่า มีดังนี้

  • ผู้ป่วยไม่ลืมตา
  • ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าใด ๆ 
  • ไม่สามารถหายใจได้ตามปกติ
  • ร่างกายไม่ตอบสองต่อความเจ็บปวด
  • รูม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสงค่ะ

การรักษาภาวะโคม่า

สิ่งสำคัญอันดับแรกของการรักษา คือ การรักษาชีวิตและการทำงานของสมอง แพทย์จะทำการให้ยาปฏิชีวนะทันทีในกรณีที่มีการติดเชื้อในสมอง และการรักษาอื่น ๆ ตามสาเหตุของอาการโคม่า เช่น ในกรณีของการใช้ยาเกินขนาด อาจต้องผ่าตัด เพื่อลดอาการบวมในสมอง

เมื่อผู้ป่วยโคม่ามีอาการทรงตัวแพทย์จะดูแลในส่วนของการป้องกันการติดเชื้อ แผลกดทับ และการหดตัวของกล้ามเนื้อ นอกจากนี้แพทย์จะให้สารอาหารที่ผู้ป่วยต้องการอย่างเพียงพอในช่วงที่อยู่ในภาวะโคม่า

ภาพรวมของภาวะโคม่า

ภาวะโคม่าที่โดยส่วนใหญ่นั้นไม่เกิน 4 สัปดาห์ แต่ทั้งนี้มีในบางกรณีที่ผู้ป่วยจะโคม่าในระยะยาวได้   ทั้งนี้ระยะเวลาในการเกิดอาการโคม่าขึ้นอยู่กับสาเหตุ และระดับความเสียหายต่อสมอง การเอาใจใส่ของคนใกล้ชิด ด้วยการพูดคุย หรือสัมผัสบ่อยๆ อาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกตัวได้เร็วขึ้น และควรจะพลิกตัวผู้ป่วยบ่อยๆ เพื่อหลีกเลี่ยงแผลกดทับ 


นี่คือแหล่งที่มาในบทความของเรา

  • https://www.webmd.com/brain/coma-types-causes-treatments-prognosis
  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/coma/symptoms-causes/syc-20371099
  • https://www.medicalnewstoday.com/articles/173655
  • https://www.nhs.uk/conditions/coma/

เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post
หลอดอาหารอักเสบ

หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis) : อาการ สาเหตุ การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.