กระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis) : อาการ สาเหตุ การรักษา
กระดูกคอเสื่อม หรือ (Cervical spondylosis) คือ การเสื่อมของกระดูกต้นคอที่เกิดขึ้นได้กับทุกวัย ซึ่งมีผลกับข้อต่อ และ แผ่นกระดูกที่ติดกับกระดูกสันหลังส่วนคอ ซึ่งโดยปกติแล้วสามารถหายไปได้เอง แต่ก็ไม่สามารถหายขาดได้ เนื่องจากเป็นภาวะเสื่อมที่เกิดขึ้นตามกาลเวลา
กระดูกคอเสื่อม เกิดจากการสึกหรอของกระดูกสันหลังบริเวณคอ ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่มักจะพบในผู้สูงอายุก็ตาม แต่อย่างไรก็ตาม กระดูกคอเสื่อมก็สามารถเกิดขึ้นได้จากปัจจัยอื่นได้อีกด้วย
ซึ่งบางคนที่ไม่เคยมีอาการของกระดูกคอเสื่อม แต่ในบางคนนั้นอาจมีสาเหตุมาจากอาการปวดเรื้อรัง อาการปวดที่รุนแรง และอาการตึงที่คอ แต่อย่างไรก็ตาม มีคนมากมายที่สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ หลังจากที่อาการกระดูกคอเสื่อมได้หายไปแล้ว
อาการของกระดูกคอเสื่อม
ผู้ป่วยโรคกระดูกคอเสื่อมนั้น ไม่มีอาการแสดงที่ชัดเจนเท่าไหร่นัก หากแต่อาการที่เกิดขึ้นนั้นอาจเริ่มจากอาการที่ไม่รุนแรงแล้วนำไปสู่อาการที่รุนแรงได้ในภายหลังและอาการอาจจะค่อยเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันก็ได้
หนึ่งในอาการที่เกิดขึ้นนั้นก็คืออาการปวดบริเวณไหล่ ซึ่งบางคนมักจะบ่นว่าอาการปวดแขนและอาการปวดตามนิ้ว ซึ่งอาการอาจจะปวดเพิ่มมากขึ้นได้ หากคุณนั้น:
- การยืน
- การนั่ง
- การจาม
- การไอ
- การเอียงคอไปมาด้านหลัง
อีกอาการที่พบได้บ่อยก็คืออาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้ยกแขนหรือจับวัตถุได้ยากมากขึ้น
อาการอื่นๆที่เป็นสัญญาณเตือนของกระดูกคอเสื่อม มีดังนี้:
- อาการคอเคล็ดที่แย่ลง
- อาการปวดหัวที่มักจะเกิดขึ้นที่ด้านหลังของศีรษะของคุณ
- มีอาการรู้สึกเสียว หรือ มีอาการชาที่ส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อไหล่และและแขน ซึ่งมันอาจจะลงมาที่ขาด้วย
อาการที่เป็นสัญญาณ ซึ่งไม่ค่อยได้พบบ่อยนัก อย่างเช่นอาการเสียสมดุลในร่างกาย และการสูญเสียการควบคุมของกระเพาะปัสสาวะ หรือ ลำไส้ ซึ่งอาการเหล่านี้ คุณต้องพบแพทย์โดยด่วน
ลองดู Movinix capsules และ Flexadel gel ช่วยบรรเทาอาการกระดูกคอเสื่อม
สาเหตุของกระดูกคอเสื่อม
กระดูกสันหลังบริเวณคอช่วยป้องกันกระดูกคอซึ่งมีความเสี่ยงที่จะเกิดการสึกหรอไปตามวัย จนนำไปสู่อาการกระดูกคอเสื่อมได้
อาการที่นำมาสู่กระดูกคอเสื่อมได้ มีดังนี้ :
ภาวะกระดูกงอกผิดปกติ
ภาวะกระดูกงอกผิดปกติเป็นการที่กระดูกมีการเจริญเติบโตที่มากเกินไป ซึ่งมีผลมาจากการที่กระดูกนั้นเจริญเติบโตอย่างพิเศษ เพื่อให้กระดูกสันหลังมีความแข็งแรงมากขึ้น แต่ก็ทำให้กลายเป็นกระดูกส่วนเกินออกมารบกวนกับระบบประสาทที่คอได้
อย่างไรก็ตาม กระดูกที่เกินออกมานั้น จะไปกดส่วนที่มีบอบบางในบริเวณกระดูกสันหลังส่วนคอ เช่น ไขสันหลังและเส้นประสาท ซึ่งทำให้เกิดอาการโรคกระดูกคอทับเส้นประสาทได้
แผ่นกระดูกสันหลังขาดน้ำหล่อเลี้ยง
กระดูกสันหลังส่วนคอนั้นมีแผ่นกระดูกอยู่ ซึ่งมีความหนาเหมือนหมอนอิงที่ช่วยป้องกันการกระแทก การยกของหนักและบิดไปมา และกิจกรรมอื่นๆที่ใช้แรงมาก และมีน้ำหล่อเลี้ยงที่ข้อต่อที่มีลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ข้างในแผ่นกระดูกคอที่สามารถแห้งได้เมื่อมีอายุที่มากขึ้น และสาเหตุนี้เองที่ทำให้กระดูกของคุณ(กระดูกสันหลังส่วนคอ)ถูกันไปมา ซึ่งเกิดอาการเจ็บปวดได้
ซึ่งอาการนี้เกิดขึ้นเมื่อคุณมีอายุ 30 ปีขึ้นไป
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
แผ่นกระดูกสันหลังส่วนคอสามารถเกิดอาการแตกร้าว ซึ่งช่วยให้การรั่วไหลของน้ำหล่อเลี้ยงที่ข้อต่อที่ทำหน้าที่กันชน กันกระแทก ทำให้เกิดการกดทับเส้นประสาทของไขสันหลังและเส้นประสาทที่คอ ซึ่งทำให้เกิดอาการชาที่แขน ซึ่งรู้กันดีว่ามีอาการปวดตั้งแต่แขนลงมา ซึ่งทำให้เกิดโรคกระดูกคอทับเส้นประสาทได้
อาการบาดเจ็บที่คอ
หากคุณมีอาการบาดเจ็บที่คอ(ไม่ว่าจะเป็นการตกจากที่สูงหรือการเกิดอุบัติเหตุ) ซึ่งกระตุ้นให้กระดูกคอมีปัญหาการเคลื่อนไหวที่คอได้ เมื่อมีคุณอายุมากขึ้น
อาการเอ็นตึงที่คอ
เส้นเอ็นคอที่แข็งแรงนั้นจะเชื่อมโยงไปยังกระดูกสันหลังส่วนคอเข้าด้วยกัน เมื่อเวลาผ่านไป เส้นเอ็นนี้เกิดการแข็งและตึงที่คอ ซึ่งมีผลต่อการเคลื่อนไหวของคอและทำให้คอเกิดอาการตึงที่คอ
การใช้งานกระดูกคอมากเกินไป
บางอาชีพหรืองานอดิเรกที่ต้องใช้ร่างกายอย่างหนักโดยที่มีส่งผลกระทบต่อกระดูกต้นคอ ทำให้กระดูกต้นคอเสื่อม (เช่นงานก่อสร้าง) ซึ่งการทำงานเหล่านี้ทำให้เกิดการสึกหรอจนเป็นกระดูกคอเสื่อมได้
เมื่อไหร่ที่ควรไปพบแพทย์
หากคุณมีอาการชาหรือมีอาการเสียวร้าวที่หัวไหล่ แขนหรือขา หรือหากคุณสูญเสียการควบคุมของลำไส้หรือกระเพาะปัสสาวะ ควรพบแพทย์โดยด่วน เพื่อขอคำปรึกษาในการรักษาอาการเหล่านี้ ซึ่งเป็นการรักษาทางการแพทย์ฉุกเฉินที่คุณควรจะรีบรักษาโดยด่วน
หากคุณมีอาการปวดและรู้สึกไม่สบายตัว ที่จะเริ่มมีการรบกวนกิจวัตรประจำวันของคุณ คุณควรจะพบแพทย์เพื่อทำการนัดหมายและตรวจหาสาเหตุของอาการกระดูกคอเสื่อม
ถึงแม้ว่าอาการกระดูกคอเสื่อม จะเกิดจากการที่มีอายุที่มากขึ้น แต่ก็ยังมีการรักษาที่สามารถลดความเจ็บปวดและความเจ็บฝืดที่คอที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการกระดูกคอเสื่อมได้
การรักษากระดูกคอเสื่อม
การรักษากระดูกคอเสื่อมมักจะมุ่งไปที่การรักษาและบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเป็นกระดูกคอเสื่อม และสามารถทำให้คุณได้ใช้ชีวิตได้อย่างปกติ
วิธีการผ่าตัดกระดูกคอเสื่อมมักจะให้ผลประสิทธิภาพมากขึ้น
การทำกายภาพบำบัด
แพทย์จะส่งให้คุณไปพบนักกายภาพบำบัดเพื่อทำการรักษาโดยทางกายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัดจะช่วยคุณรักษาอาการที่เรียกว่ากระดูกคอเสื่อมกายภาพบำบัด โดยทำการยืดเส้นที่กล้ามเนื้อคอและหัวไหล่ การรักษาด้วยวิธีนี้ทำให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงและช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดที่เกิดจากอาการกระดูกคอเสื่อมได้
คุณอาจจะมีการใช้เครื่องมื่อที่ช่วยพยุงคอ ซึ่งเครื่องมือนี้ต้องใช้น้ำหนักที่คอเพื่อเพิ่มช่องว่างระหว่างข้อต่อต้นคอและบรรเทาความดันในแผ่นกระดูกคอและรากของเส้นประสาทได้
การใช้ยา
แพทย์อาจจะแนะนำยาที่รักษาอาการกระดูกคอเสื่อมที่ไม่ใช่ยาที่มีสารสเตียรอยด์ หากยาที่คุณซื้อตามร้านขายยานั้นไม่ได้ผล ซึ่งมีดังนี้ :
- ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่น Movinix
- เจลชนิดพิเศษเช่น Flexadel
- ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่นยาไซโคลเบนซาพรีน(Fexmid) ซึ่งช่วยคลายความตึงของกล้ามเนื้อ
- ยาที่ทำให้ง่วงซึม เช่น ยาไฮโดรโคโดน (Norco) เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
- ยาต้านโรคลมชัก เช่น ยากาบาเพนติน(Neurontin) ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดที่มาจากการที่เส้นประสาทถูกทำลาย
- การฉีดยาสเตียรอยด์ เช่น ยาเพรดนิโซน ซึ่งช่วยลดอาการอักเสบของเนื้อเยื่อและลดความเจ็บปวดในภายหลัง
- ยาต้านการอักอักเสบ(NSAIDs)ที่แพทย์ไม่ได้สั่ง เช่น ยาดิโคลฟีแน็ก (Voltaren-XR) ซึ่งลดอาการอักเสบของกระดูกคอเสื่อม
การผ่าตัด
หากคุณมีอาการกระดูกคอเสื่อมที่มีความรุนแรงและได้รับการรักษาโดยวิธีอื่นมาแล้วไม่ได้ผล คุณก็อาจต้องได้รับการผ่าตัด ซึ่งแก้ปัญหาภาวะกระดูกงอกผิดปกติ เพื่อนำกระดูกส่วนเกินที่เจริญเติบโตแบบผิดปกติออก กระดูกที่ร้าวบริเวณคอ หรือโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ทำให้มีพื้นที่กระดูกสันหลังส่วนคอและเส้นประสาทที่คอเพิ่มมากขึ้น
การผ่าตัดแทบจะไม่มีความจำเป็นกับกระดูกคอเสื่อมเท่าไหร่นัก แต่อย่างไรก็ตาม หากคุณมีอาการกระดูกคอเสื่อมที่มีความรุนแรงและมีผลต่อการเคลื่อนไหวของแขนของคุณ ควรจะพบแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยด่วน
ลองดู Movinix และ Flexadel ช่วยบรรเทาอาการกระดูกคอเสื่อม
สถิติผู้ป่วยกระดูกคอเสื่อมในประเทศไทย
สถิตินี้มาจากโรงพยาบาลเลิดสิน เรื่องผู้ป่วยกระดูกคอเสื่อม มักจะพบในผู้สูงอายุที่มี 50 ขึ้นไป และมีกลุ่มอาการอยู่ 3 ประเภท ซึ่งมีดังนี้
- กลุ่มอาการที่เกิดจากการเสื่อมของหมอนรองกระดูกและภาวะกระดูกคอโดยตรง
- กลุ่มอาการที่เส้นประสาทถูกกดทับ
- กลุ่มอาการของไขสันหลังถูกกดทับ
นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา
- https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/cervical-spondylosis/diagnosis-treatment/drc-20370792
- https://www.nhs.uk/conditions/cervical-spondylosis/
- https://www.webmd.com/osteoarthritis/cervical-osteoarthritis-cervical-spondylosis
เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team