• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (Bladder Stones) : อาการ สาเหตุ การรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
16/12/2020
in หาโรค, โรคระบบสืบพันธุ์
0
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
0
SHARES
27
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • ภาพรวม
  • อาการของนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
  • สาเหตุของการเป็นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
  • การรักษานิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
  • ภาพรวม
Rate this post

ภาพรวม

นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (Bladder Stones) เป็นผลึกที่ก่อตัวขึ้น เมื่อปัสสาวะมีความเข้มข้นสูงและจับตัวรวมกันภายหลังการถ่ายปัสสาวะ

ปัสสาวะ คือ ของเหลวที่เป็นน้ำส่วนหนึ่ง ส่วนที่เหลือประกอบด้วยแร่ธาตุ เช่น เกลือ และของเสีย เช่น โปรตีน ปัสสาวะเข้มข้นมีสีแตกต่างกันไป ตั้งแต่สีเหลืองอำพันไปจนถึงสีน้ำตาล ขึ้นอยู่กับของเสียและแร่ธาตุปลดปล่อยออกมา

ปัสสาวะเข้มข้นมักเป็นผลมาจากการขาดน้ำ หรือการที่กระเพาะปัสสาวะไม่สามารถขับปัสสาวะให้หมดไปได้ หรืออาจเกิดจากต่อมลูกหมากโต หรือปัญหาเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะ หรือการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTIs) หากไม่มีการรักษา นิ่วในกระเพาะปัสสาวะอาจนำไปสู่การติดเชื้อและภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ

อาการของนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

อาการทั่วไปของนิ่วในทางเดินปัสสาวะได้แก่

  • ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะในตอนกลางคืน
  • ปวดท้องน้อย
  • ปวดแสบร้อนขณะปัสสาวะ
  • ปัสสาวะเป็นเลือดหรือมีสีขุ่น
  • ควบคุมการถ่ายปัสสาวะไม่ได้

สาเหตุของการเป็นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

ปัจจัยที่สามารถก่อให้เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะหรือการขัดขวางการไหลของปัสสาวะ มีดังต่อไปนี้

การติดเชื้อ

แบคทีเรีย และเชื้อโรคอื่นๆ อาจทำให้กระเพาะปัสสาวะติดเชื้อ หรืออักเสบได้ โดยกระเพาะปัสสาวะอักเสบ UTIs เป็นสาเหตุของนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

แม้ว่าผู้ชายจะเป็นโรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะได้ แต่ผู้หญิงก็มีการติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากผู้หญิงมีท่อปัสสาวะที่สั้นกว่า ดังนั้นจึ่งง่ายต่อการที่แบคทีเรียจะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ

ท่อปัสสาวะได้รับการทำลาย

ท่อปัสสาวะที่ได้รับความเสียหายจากความเจ็บป่วย หรือบาดแผล จะทำให้แคบลง เนื่องจากการติดเชื้อและขัดขวางการไหลของปัสสาวะออกจากร่างกาย

ต่อมลูกหมากโต

ต่อมลูกหมากนั้นอยู่ในลักษณะล้อมรอบท่อปัสสาวะซึ่งเป็นท่อบาง ๆ ที่ลำเลียงปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะระหว่างถ่ายปัสสาวะ เมื่อต่อมลูกหมากขยายใหญ่ขึ้นท่อปัสสาวะสามารถถูกกดทับได้

กระเพาะปัสสาวะพิการ

กระเพาะปัสสาวะพิการเป็นภาวะที่เป็นผลกระทบจากเส้นประสาทที่ส่งข้อความจากสมองไปยังกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ ได้รับบาดเจ็บหรือความเสียหาย ทำให้การสั่งการของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัวและขยายตัวเพื่อปัสสาวะไม่สามารถทำได้โดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจทำให้ปัสสาวะค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ และก่อตัวเป็นนิ่ว

กระเพาะปัสสาวะอ่อนแอ

ผนังของกระเพาะปัสสาวะสามารถอ่อนแอได้ในบางบริเวณ และอาจเกิดเป็นถุงนูนในบริเวณต่างๆ ทำให้ปัสสาวะถูกกักเก็บในถุงเล็กๆ เหล่านั้นทำให้ปัสสาวะค้างออกมาไม่หมด

นิ่วในไต

นิ่วขนาดเล็กสามารถก่อตัวในไต และถูกลำเลียงไปตามท่อไตซึ่งเป็นท่อ 2 ท่อที่นำปัสสาวะจากไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะ

แม้ว่านิ่วในไตจะมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน แต่ก็สามารถกลับกลายเป็นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะได้ เมื่อก้อนนิ่วถูกลำเอียงไปยังกระเพาะปัสสาวะ

นิ่วในไตขนาดเล็กอาจผ่านทางปัสสาวะได้ แต่หากมีขนาดใหญ่เกินไปแพทย์ก็มีความจำเป็นต้องผ่าตัดเพื่อเอาออก

การรักษานิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

หากแพทย์พบว่า ผู้ป่วยมีนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ แพทย์จะใช้วิธีการ cystolitholapaxy คือ การใช้พลังงานเลเซอร์หรือคลื่นอัลตร้าซาวด์ เพื่อสลายนิ่วให้เป็นก้อนเล็กๆ เพื่อนำออก

หากนิ่วไม่สามารถสลายด้วยวิธีข้างต้น อาจมีความจำเป็นที่ต้องผ่าตัดเพื่อนำออก

ภาพรวม

ภาพในการรักษานิ่วในกระเพาะปัสสาวะนั้นยังอยู่ในทิศทางที่ดี หลังจากได้รับการรักษาแล้ว สามารถป้องกันการกลับมาเป็นอีกด้วยการการดื่มน้ำปริมาณมาก (อย่างน้อย 8 แก้วหรือ 64 ออนซ์ต่อวัน) นอกจากนี้หากมีอาการปัสสาวะอักเสบหรือปัญหาทางเดินปัสสาวะอื่นๆ ควรรักษาให้ทันท่วงที


นี่คือแหล่งที่มาในบทความของเรา

  • https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/bladder-stones/symptoms-causes/syc-20354339
  • https://www.nhs.uk/conditions/bladder-stone/
  • https://www.webmd.com/kidney-stones/what-are-bladder-stones

เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team

Tags: การสืบพันธุ์
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post
ปวดน่อง

ปวดน่อง (Calf Pain) : อาการ สาเหตุ การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.