• ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
  • Login
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
No Result
View All Result
Bupa Active Blog
No Result
View All Result
Home หาโรค

ปาน (Birth Mark) : อาการ สาเหตุ การรักษา

by แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์
04/12/2020
in หาโรค
0
0
SHARES
58
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter
สารบัญ
  • ปานคืออะไร
  • ประเภทของปาน
  • สาเหตุการเกิดปาน
  • การลบรอยปาน
  • การใช้ยาคอร์ติคอสเตียรอยด์
4.7 / 5 ( 18 votes )

ปานคืออะไร

ปาน (Birth Mark) เกิดจากการที่มีผิวหนังบางส่วนเกิดการเปลี่ยนสีขึ้นมาตั้งแต่แรกเกิด หรือช่วงเวลา 2-3 สัปดาห์แรกของชีวิต ปานนั้นไม่ได้เป็นอันตรายจนเป็นเรื่องที่ร้ายแรงมากนัก

ปานสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วทุกส่วนของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นใบหน้า หรือทุกส่วนของร่างกาย ซึ่งจะมีสี ขนาด ลักษณะที่ปรากฏ หรือรูปร่างที่แตกต่างกัน ปานนั้นบางครั้งก็อยู่บนร่างกายอย่างถาวร หรืออาจจะหายไปภายหลังได้ ส่วนใหญ่ปานนั้นจะไม่มีอันตราย แต่บางคนนั้นปานบ่งบอกถึงอาการของโรคบางอย่าง 

ปาน (Birth Mark)

ประเภทของปาน

ประเภทของปานที่พบได้บ่อยนั้น มักจะพบได้ 1 ใน 2 ประเภทนี้ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างกันดังนี้:

  • ปานแดง เกิดจากหลอดเลือดที่ผิดปกติ ตัวอย่างเช่นอาจจะมีเส้นเลือดมากเกินไป หรือมีเส้นเลือดใหญ่เกินกว่าที่จะเป็นได้ ซึ่งเกิดขึ้นบนบริเวณใดบริเวณหนึ่งผิวของคุณ
  • ปานดำ เกิดจากการที่มีเม็ดสีผิวเมลานินมากเกินไปบนบริเวณผิวเดียวกัน ซึ่งปกติเม็ดสีเมลานินมีหน้าที่ทำให้มีสีผิวตามธรรมชาติ มักจะมีมาแต่กำเนิด 

ไฝ (ปานที่มาแต่กำเนิด)

ไฝนั้นมีสีชมพู น้ำตาลอ่อน ไปจนถึงดำ ซึ่งขนาดนั้นอาจแตกต่างกันไป อาจมีลักษณะนูนหรือแบนก็ได้ ไฝสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของร่างกาย ไฝบางประเภทอาจหายไปแต่ไฝบางประเภทอาจติดอยู่บนร่างกายตลอดชีวิต แต่ไฝนั้นอาจจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะกลายเป็นมะเร็งผิวหนังได้

wait…

ปานมองโกเลียน

ปานนี้มีลักษณะนูนมีสีน้ำเงินเทา คล้ายรอยฟกช้ำ และส่วนใหญ่เกิดกับคนผิวเข้ม ปานนี้ไม่มีอันตราย แต่มักเกิดรอยช้ำในเวลาที่เกิดอุบัติเหตุ ปานมองโกเลียนมักเกิดขึ้นในบริเวณส่วนล่าง และจะหายไปเมื่ออายุ 4 ขวบ

ปานน้ำตาล

ปานสีน้ำตาล เป็นปานที่มีรูปไข่ มักจะมีสีน้ำตาลอ่อน เมื่อผิวของคุณคล้ำ สีปานนี้ก็เข้มขึ้น ปานประเภทนี้มักเกิดแต่แรกเกิดถึงวัยเด็ก มันอาจจะใหญ่ขึ้นแต่มักจะหายไป เด็กบางคนอาจมีปานน้ำตาลประเภทนี้มีมากกว่า 1 ตำแหน่งบนร่างกาย 

ปานแดง

บางครั้งปานชนิดนี้เกิดจากการที่หลอดเลือดรวมกันผิดปกติ จนเป็นจุดดำขึ้นบนร่างกาย เรียกว่าปานแดง ปานนี้จะเกิดขึ้นในเด็กเกิดใหม่สัก 40 เปอร์เซนต์

ปานฮีแมงจิโอมา

ปานเหล่านี้มักเป็นสีชมพู น้ำเงิน หรือแดงสด มักจะเกิดที่ปลายแขน ศีรษะ หรือคอ ปานฮีแมงจโอมา อาจจะแบนและมีขนาดเล็ก บางทีปานนี้อาจจะอยู่ในช่วง 2 – 3 เดือนแรกของทารก ซึ่งอาจใหญ่ขึ้น ปานนี้มักจะหายไปเองเมื่อถึงในวัยเด็ก ซึ่งบางครั้งก็ทิ้งร่องรอยของปานที่เป็นสีชมพูเหมือนเชอรี่หรือสตรอเบอรร์รี่ เรียกว่าปานสตรอเบอรร์รี่

ปานฮีแมงจีโอมาที่เจริญเติบโตเร็วเกินไป จำเป็นต้องรักษาด้วยการกำจัดออก เพื่อให้ปานนี้ไม่ไปกระทบต่อการมองเห็นหรือการหายใจของเด็ก เด็กที่มีปานนี้อยู่บนผิวเป็นจำนวนมาก ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจปานนี้ที่อยู่ภายในร่างกายด้วย

ปานแดงเส้นเลือดฝอย

ปานนี้เกิดจากการก่อตัวหลอดเลือดขนาดเล็กที่ผิดปกติที่อยู่ใต้ผิวหนัง มันสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนบนร่างกาย แต่ส่วนใหญ่มักพบที่หน้าและคอ ปานนี้อาจมีสีชมพูหรือแดง หรืออาจจะเป็นสีแดงเข้มหรือสีม่วง ปานนี้ไม่สามารถหายไปได้ตามธรรมชาติหรืออาจเข้มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษา ผิวหนังก็จะแห้ง หนา หรือกลายเป็นก้อนเนื้อ ปานนี้ที่เกิดขึ้นบนเปลือกตาอาจต้องรับการรักษา ซึ่งอาจเชื่อมโยงกับพันธุกรรมด้วย

สาเหตุการเกิดปาน

คุณอาจเคยได้ยินตำนานเกี่ยวกับปานที่กล่าวว่า ปานนั้นเชื่อมโยงกับความอยากอาหาร ซึ่งมันไม่ได้เกิดขึ้นจริง ปานนั้นไม่ได้เกิดจากสิ่งที่หญิงที่ตั้งครรภ์ทำหรือไม่ได้ในระหว่างที่ตั้งครรภ์ แต่สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดปานนั้นยังไม่แน่ชัด

การลบรอยปาน

ปานเหล่านี้ไม่เป็นอันตรายและไม่จำเป็นต้องเอาออก แต่ปานบางประเภทต้องทำการลบรอยปานออก เพราะทำให้คนเห็นแล้วไม่สบายใจ ปานแบบอื่นอย่างปานฮีแมงจีโอม่าหรือไฝนั้น สามารถมีความเสียงที่จะเป็นมะเร็งผิวหนัง ปานเหล่านี้ควรได้รับการตรวจสอบโดยแพทย์ผิวหนังและอาจต้องมีการกำจัดปานออกไป

เทคนิคในการลบรอยปาน มีดังนี้:

การใช้แสงเลเซอร์

การใช้แสงเลเซอร์ สามารถทำการลบรอยปาน หรือปานแดงเส้นเลือดฝอยให้จางลงไปได้ การลบรอยปานนี้สามารถได้โดยศัลยแพทย์ ซึ่งต้องลำแสงที่มีความแรงสูงจึงจะสามารถลบรอยปานได้ และสามารถปรับให้เหมาะสมเพื่อความแข็งแรงของผิว

การรักษาด้วยแสงเลเซอร์อาจประสบความสำเร็จมากที่สุดเมื่อเริ่มในวัยเด็ก แต่สามารถใช้กับเด็กและผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่าได้ โดยปกติคุณจะต้องได้รับการบำบัดหลายอย่าง การรักษาด้วยเลเซอร์อาจไม่สะดวกและอาจต้องใช้ยาชาเฉพาะที่และมักจะให้ผลลัพธ์ที่ถาวร อาจเกิดอาการบวมหรือช้ำชั่วคราว

ยาเบต้าบล็อกเกอร์

ยาเบต้าบล็อกเกอร์เป็นยาที่รับประทานเพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูง ยาโพรพราโนลอล เป็นยาชนิดเดียวกันกับยาเบต้าบล็อกเกอร์ที่อาจนำมาลดขนาดปานฮีแมงจีโอม่า ยานี้ทำงานได้โดยการหดตัวของหลอดเลือดและช่วยในการไหลเวียนของเลือดให้ดีขึ้น ซึ่งปานนี้เริ่มจางและหลอดเลือดหดตัวลง นอกจากยังมียาเบต้าบล็อกเกอร์ชนิดอื่น เช่นยาทิโมลอล ซึ่งสามารถรักษารอยปานได้เช่นเดียวกัน

การใช้ยาคอร์ติคอสเตียรอยด์

ยาคอร์ติคอสเตียรอยด์ เป็นยาแก้อักเสบที่สามารถนำมารับประทานหรือฉีดโดยตรงไปยังปาน ยานี้ทำงานโดยตรงในเส้นเลือด ซึ่งช่วยลดขนาดของปาน

การผ่าตัด

บางคนอาจจะประสบความสำเร็จในการผ่าตัดเพื่อกำจัดปาน  ซึ่งอาจจะรวมถึงปานฮีแมงจีโอมาที่อยู่ระดับลึก ซึ่งอาจทำลายเนื้อเยื่อโดยรอบ และอาจจะมีผลต่อสุขภาพปานประเภทนี้จึงต้องทำการผ่าตัด โดยศัลยแพทย์จะใช้มีดผ่าตัดขนาดเล็กเพื่อกำจัดปานออก 

การขยายเนื้อเยื่อเป็นเทคนิคการผ่าตัดอีกวิธีหนึ่งที่บางครั้งใช้เพื่อลดรอยแผลเป็นที่เกิดจากการผ่าตัดปานออก มันต้องมีการแทรกของเนื้อเยื่อใหม่ภายใต้ผิวที่แข็งแรงอยู่ถัดจากปาน นี่เป็นสาเหตุให้ผิวใหม่ที่มีสุขภาพดี ผิวหนังใหม่นี้จะครอบคลุมพื้นที่ที่เคยเป็นปาน ซึ่งทำให้มีผิวที่เรียบเนียนขึ้น


นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา

  • https://www.nhs.uk/conditions/birthmarks/
  • https://kidshealth.org/en/parents/birthmarks.html
  • https://medlineplus.gov/birthmarks.html
  • https://www.aad.org/public/diseases/a-z/birthmarks-symptoms

เนื้อหาและรีวิวมาจากผู้เชี่ยวชาญ โดย Bupa team

Tags: เรื้อรัง
แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา รัตนพันธ์

แพทย์หญิงวิกานดา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง เธอมีความเชื่อว่าผิวพรรณที่มีสุขภาพดีจะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเอง ดังนั้นความตั้งใจของเธอคือต้องการช่วยให้ทุกคนมีผิวพรรณที่มีสุขภาพดี ปราศจากโรคทางผิวหนัง และแพทย์หญิงวิกานดาเป็นหนึ่งในแพทย์ที่เก่งมากคนหนึ่งในประเทศ

Next Post

มะเร็งกระดูก (Bone Cancer) : อาการ ประเภท การรักษา

Please login to join discussion

บทความยอดนิยมของเรา

  • โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
  • Erectile Dysfunction
  • รีวิวยาลดน้ำหนักที่ดีที่สุด

ประเภท

  • การติดเชื้อ
  • ครีมและเจล
  • จิตวิทยา
  • ซินโดรม
  • บทความสุขภาพ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • มะเร็ง
  • หาโรค
  • อาการ
  • โภชนาการ
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • โรคตา
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคทางพันธุกรรม
  • โรคผิวหนัง
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคระบบกล้ามเนื้อ
  • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
  • โรคระบบทางเดินหายใจ
  • โรคระบบประสาท
  • โรคระบบสืบพันธุ์
  • โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • โรคในช่องปาก
  • โสตนาสิกลาริงซ์วิทยา

เกี่ยวกับเรา

เว็บไซต์ Bupa.co.th รวบรวมบทความเกี่ยวกับโรคต่าง

นอกจากนี้แล้วเว็บไซต์ Bupa.co.th ยังส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ รวมไปถึงสุขภาพที่ดีสำหรับทุกคน เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและนำเสนอบทความที่หลากหลายและมีคุณภาพอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อผู้อ่านอันเป็นที่รักของเราทุกคน

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • หาโรค A-Z
  • ซินโดรม
  • อาการ
  • บทความสุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
    • ครีมและเจล
  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ติดต่อเรา

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.